กล่องข้อความ:

บริเวณที่พบ : หอประชุมวัฒโนทัยพายัพ
ชื่ออื่นๆ : ขะยุง แดงจีน ประดู่เสน พะยุง
ลักษณะพิเศษของพืช : ไม้ต้น
ลักษณะทั่วไป : ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบ เรือนยอดเป้นพุ่มกลมค่อนข้างโปร่งกิ่งห้อยย้อยลง เปลือกสีนำตาลแดง
ต้น : ไม้ต้นผลัดใบ สูง 15 - 25 เมตร เปลือกสีเทาเรียบ เรือนยอดทรงกลมหรือรูปไข่
ใบ :
เป็นช่อแบบขนนกปลายใบเดี่ยว เรียงสลับ ใบย่อยเรียงสลับจำนวน 7 - 9 ใบ ขนาดกว้าง 3 - 4 เซนติเมตร ยาว 4 - 7 เซนติเมตร
ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ผิวใบด้านบนสีเขียวเข้ม ท้องใบสีจาง
ดอก :
ดอกขนาดเล็กสีขาว กลิ่นหอมอ่อน ออกรวมกันเป็นช่อตามง่ามใบ และตามปลายกิ่ง
ผล
: เป็นฝักรูปขอบขนานแบนบางขนาดกว้าง 1.2 เซนติเมตร ยาว 4 - 6 เซนติเมตร มีเมล็ด 1 - 4 เมล็ด
ประโยชน์ :
เนื้อไม้สีแดงอมม่วง ถึงแดงเลือดหมูแก เนื้อละเอียด แข็งแรงทนทาน ขัดและชักเงาได้ดี ใช้ทำเครื่องเรือน เกวียน
เครื่องกลึงแกะสลัก ทำเครื่องดนตรี เช่น ซอ ขลุ่ย ลูกระนาด รากแก้ไข้พิษ เปลือกต้นเอานำอมแก้ปากเปลื่อย ยางสดทาแก้ปากเปื่อย
ผลทำไม้ประดับแห้งได้

ลักษณะวิสัย

กลับหน้าหลัก
ลำต้น
กิ่ง-ใบ

7-50100-001-148

ชื่อพื้นเมือง

:  พะยูง

ชื่อวิทยาศาสตร์

Dalbergia cochinchinensis Pierre

ชื่อวงศ์

:  LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE

ชื่อสามัญ

:  Black wood, Rosewood, Siamese rosewood

ประโยชน์

: ราก แก้ไข้พิษ เปลือกต้มเอาน้ำอมแก้ปากเปื่อย
ยางสดทาแก้ปากเปื่อย ผลทำไม้ประดับแห้ง

ใบ

 

สรุปลักษณะและข้อมูลพรรณไม้
ชื่อพรรณไม้    พะยูง     รหัสพรรณไม้   7-50100-001-148